การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรีและพิจารณาถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามฤดูกาล โดยหาอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งระหว่างปี พ.ศ. 2544-2554 ใน 2 ช่วงฤดู คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการศึกษาพบว่าชายฝั่งทะเลจังหวัดเพชรบุรีถู...

وصف كامل

محفوظ في:
التفاصيل البيبلوغرافية
المؤلفون الرئيسيون: อรอร สาราจิตต์, กาญจนา นาคะภากร, Oraon Sarajit, Kanchana Nakhapakorn
مؤلفون آخرون: มหาวิทยาลัยเนรศวร.
التنسيق: مقال
اللغة:Thai
منشور في: 2015
الموضوعات:
الوصول للمادة أونلاين:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48690
الوسوم: إضافة وسم
لا توجد وسوم, كن أول من يضع وسما على هذه التسجيلة!
المؤسسة: Mahidol University
اللغة: Thai
id th-mahidol.48690
record_format dspace
spelling th-mahidol.486902023-04-12T15:36:11Z การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี Geo-information application for coastal erosion situation, Phetchaburi province. อรอร สาราจิตต์ กาญจนา นาคะภากร Oraon Sarajit Kanchana Nakhapakorn มหาวิทยาลัยเนรศวร. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์. ภูมิสารสนเทศ การกัดเซาะชายฝั่ง เพชรบุรี geo-information coastal erosion Phetchaburi การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรีและพิจารณาถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามฤดูกาล โดยหาอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งระหว่างปี พ.ศ. 2544-2554 ใน 2 ช่วงฤดู คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการศึกษาพบว่าชายฝั่งทะเลจังหวัดเพชรบุรีถูกกัดเซาะระยะทางรวม 11,638 เมตร ระยะทางแนวชายฝั่งที่มีอัตราการกัดเซาะรุนแรงมากกว่า 4 เมตรต่อปี รวมระยะทาง 3,700 เมตร แนวชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านแหลม ที่ตำบลปากทะเลต่อเนื่องถึงตำบลบางแก้ว เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ไม่มีแนวป้องกัน เช่น ป่าชายเลนหรือโครงสร้างวิศวกรรม ประกอบกับเป็นพื้นที่ตั้งอยู่ทางตอนบนเหนือแนวกำแพงหินทิ้งที่ตำบลบางแก้ว ส่วนชายฝั่งที่มีป่าชายเลน แนวชายฝั่งจะคงสภาพหรือมีการเพิ่มขึ้น พบบริเวณพื้นที่ศึกษาตอนบนที่เป็นหาดโคลน ทั้งนี้ช่วงฤดูมรสุมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งมีความแตกต่างกัน แต่ได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของตะกอนทรายแนวชายหาดของพื้นที่ศึกษาตอนล่างอย่างชัดเจน โดยพบการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายบริเวณชายหาดในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (พฤษภาคม-กันยายน) และลดลงในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตุลาคม-กุมภาพันธ์) พบการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายชายหาดบริเวณปากคลองที่ขนานชายฝั่ง รวมถึงการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายด้านหลังเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งบริเวณหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมือง และหาดหน้าพระราชวังมฤคทายวัน อำเภอชะอำ แต่จะมีลักษณะเว้าแหว่งตามระยะห่างของเขื่อนกันคลื่น The objective of study to assess the situation of coastal erosion in Phetchaburi province considered with the physical processes by seasonal changes. The methodology applied the geo-information technology for the rate of coastal changing from year 2001 to year 2011 in 2 monsoon; Southwest monsoon (May-September) and northeast monsoon (October-February). The results showed The Phetchaburi coast were eroded totally shoreline’s distance of 11,638 meters and it had the erosion rate more than 4.0 meters per year a total shoreline’s distance of 3,700 meters. The most located at Pak-Thale continuous to Bang-Kaeo in Ban-Laem district because these areas did not have the defensive objects such as mangroves or engineering structure. Moreover, the area is located above the rock revetment of Bang-Kaeo. The coast with mangrove forest in mudflat; the upper zone of study area were be stable or accretion. The difference during monsoon had an indecisive difference effect on shoreline changing. However, the influence of the monsoon had effected to the beach sediments in sandy beach; the lower zone of study area. The sand sediment increased in the Southwest monsoon and decreased in the Northeast monsoon. The obviously accretion showed at the estuary that parallel with the coast. Including in Chao-Samran beach in Mueang district and the beach in the front of the Maruekhathaiyawan royal palace in Cha-am district, since the creation of the offshore breakwater but the beach has been dented follow the distance of breakwater. 2015-09-18T10:14:51Z 2020-01-07T06:01:19Z 2015-09-18T10:14:51Z 2020-01-07T06:01:19Z 2015-09-18 2557 Article วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 6 (2557),789-800. 0858-4435 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48690 tha Mahidol University. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ภูมิสารสนเทศ
การกัดเซาะชายฝั่ง
เพชรบุรี
geo-information
coastal erosion
Phetchaburi
spellingShingle ภูมิสารสนเทศ
การกัดเซาะชายฝั่ง
เพชรบุรี
geo-information
coastal erosion
Phetchaburi
อรอร สาราจิตต์
กาญจนา นาคะภากร
Oraon Sarajit
Kanchana Nakhapakorn
การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
description การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรีและพิจารณาถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามฤดูกาล โดยหาอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งระหว่างปี พ.ศ. 2544-2554 ใน 2 ช่วงฤดู คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการศึกษาพบว่าชายฝั่งทะเลจังหวัดเพชรบุรีถูกกัดเซาะระยะทางรวม 11,638 เมตร ระยะทางแนวชายฝั่งที่มีอัตราการกัดเซาะรุนแรงมากกว่า 4 เมตรต่อปี รวมระยะทาง 3,700 เมตร แนวชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านแหลม ที่ตำบลปากทะเลต่อเนื่องถึงตำบลบางแก้ว เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ไม่มีแนวป้องกัน เช่น ป่าชายเลนหรือโครงสร้างวิศวกรรม ประกอบกับเป็นพื้นที่ตั้งอยู่ทางตอนบนเหนือแนวกำแพงหินทิ้งที่ตำบลบางแก้ว ส่วนชายฝั่งที่มีป่าชายเลน แนวชายฝั่งจะคงสภาพหรือมีการเพิ่มขึ้น พบบริเวณพื้นที่ศึกษาตอนบนที่เป็นหาดโคลน ทั้งนี้ช่วงฤดูมรสุมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งมีความแตกต่างกัน แต่ได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของตะกอนทรายแนวชายหาดของพื้นที่ศึกษาตอนล่างอย่างชัดเจน โดยพบการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายบริเวณชายหาดในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (พฤษภาคม-กันยายน) และลดลงในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตุลาคม-กุมภาพันธ์) พบการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายชายหาดบริเวณปากคลองที่ขนานชายฝั่ง รวมถึงการเพิ่มขึ้นของตะกอนทรายด้านหลังเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งบริเวณหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมือง และหาดหน้าพระราชวังมฤคทายวัน อำเภอชะอำ แต่จะมีลักษณะเว้าแหว่งตามระยะห่างของเขื่อนกันคลื่น
author2 มหาวิทยาลัยเนรศวร.
author_facet มหาวิทยาลัยเนรศวร.
อรอร สาราจิตต์
กาญจนา นาคะภากร
Oraon Sarajit
Kanchana Nakhapakorn
format Article
author อรอร สาราจิตต์
กาญจนา นาคะภากร
Oraon Sarajit
Kanchana Nakhapakorn
author_sort อรอร สาราจิตต์
title การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
title_short การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
title_full การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
title_fullStr การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
title_full_unstemmed การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
title_sort การประยุกต์ภูมิสารสนเทศสำหรับสถานการณ์การกัดเซาะของชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48690
_version_ 1781416391747829760