การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง

In this research, L-valve was used in the circulating fluidized bed to control solid circulation rate. The effect of L-valve configuration in cold-flow (the position of aeration tap, angle of L-valve, solid inventory and aeration flow rate) was studied by measuring the solid circulation rate. Coal w...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พีรพล ฐิติอนันท์
Other Authors: เลอสรวง เมฆสุต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2002
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:35751
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 35751
record_format dspace
spelling 357512024-02-23T07:37:14Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:35751 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2002.922 tha พีรพล ฐิติอนันท์ การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง Design of a circulating fluidized bed: the effect of L-valve configuration in cold-flow จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2002 2002 In this research, L-valve was used in the circulating fluidized bed to control solid circulation rate. The effect of L-valve configuration in cold-flow (the position of aeration tap, angle of L-valve, solid inventory and aeration flow rate) was studied by measuring the solid circulation rate. Coal which has the density of 1381 kg/m[superscript 3], particle size distribution between 500 and 5000 micron, average particle size of 740 micron and was categorized in group B and D in Geldart s classification was used. From this study, solid circulation rate at the position of 6 cm above the center of horizontal L-valve was higher than the position of 0 and 12 cm only when horizontal L-valve. The solid circulation rate was increased when aeration flow rate and angle of L-valve increased and it didn t depend on the solid inventory. Finally, the relationship between the solid circulation rate and these parameter was studied. แอลวาล์วใช้เป็นส่วนเชื่อมต่อในระบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน ทำหน้าที่ป้อนของแข็งย้อนกลับเข้ามาในระบบ(ท่อไรเซอร์)ใหม่ โดยงานวิจัยนี้จะศึกษาผลของตำแหน่งช่องเติมอากาศ มุมของแอลวาล์ว ปริมาณของแข็งในระบบ และปริมาณอากาศที่ให้ที่ตำแหน่งช่องเติมอากาศ ที่มีต่ออัตราการไหลย้อนกลับของของแข็งในการไหลที่อุณหภูมิห้อง โดยของแข็งที่ใช้ศึกษาเป็นถ่านหินที่มีความหนาแน่น 1381 kg/m[superscript 3] ขนาดระหว่าง 500 ถึง 5000 ไมครอน ซึ่งอยู่ในกลุ่ม B และ D ของการจำแนกด้วยวิธี Geldart โดยมีขนาดเฉลี่ย 740 ไมครอน พบว่าที่ตำแหน่งเหนือจุดศูนย์กลางของแอลวาล์วขึ้นมา 6 เซนติเมตร จะให้อัตราการไหลย้อนกลับของถ่านหินดีที่สุดเมื่อเทียบกับตำแหน่ง 0 และ 12 เซนติเมตร โดยการศึกษาในส่วนนี้จะเลือกศึกษาเฉพาะในกรณีที่มุมแอลวาล์วเป็นศูนย์องศาเท่านั้น และยังพบอีกว่าอัตราการไหลย้อนกลับของถ่านหินจะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณอากาศที่ตำแหน่งช่องเติมอากาศ มุมของแอลวาล์วเพิ่มขึ้น แต่ไม่ขึ้นกับปริมาณของแข็งที่สะสมในระบบ และได้นำผลที่ได้มาสร้างเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลย้อนกลับของถ่านหินกับตัวแปรต่างๆ ที่ศึกษา 152 pages ฟลูอิไดเซชัน เลอสรวง เมฆสุต สุชญา นิติวัฒนานนท์ https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/35751.jpg
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ฟลูอิไดเซชัน
spellingShingle ฟลูอิไดเซชัน
พีรพล ฐิติอนันท์
การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
description In this research, L-valve was used in the circulating fluidized bed to control solid circulation rate. The effect of L-valve configuration in cold-flow (the position of aeration tap, angle of L-valve, solid inventory and aeration flow rate) was studied by measuring the solid circulation rate. Coal which has the density of 1381 kg/m[superscript 3], particle size distribution between 500 and 5000 micron, average particle size of 740 micron and was categorized in group B and D in Geldart s classification was used. From this study, solid circulation rate at the position of 6 cm above the center of horizontal L-valve was higher than the position of 0 and 12 cm only when horizontal L-valve. The solid circulation rate was increased when aeration flow rate and angle of L-valve increased and it didn t depend on the solid inventory. Finally, the relationship between the solid circulation rate and these parameter was studied.
author2 เลอสรวง เมฆสุต
author_facet เลอสรวง เมฆสุต
พีรพล ฐิติอนันท์
format Theses and Dissertations
author พีรพล ฐิติอนันท์
author_sort พีรพล ฐิติอนันท์
title การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
title_short การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
title_full การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
title_fullStr การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
title_full_unstemmed การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
title_sort การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2002
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:35751
_version_ 1829257592300371968