การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย

โรคใบจุดของเปล้าน้อย (Croton sublyratus Kurz.) เกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulata โดยมี Colletotrichum gloeosporioides เป็น imperfect stage เชื้อราสามารถเจริญและสร้างสปอร์ได้ดีบนอาหาร Czapek agar (CZA) น้ำหนักแห้งของเส้นใยและปริมาณสารสกัดจากเชื้อรามีมากที่สุดเมื่อเลี้องเชื้อในอาหารเหลว Czapek dox m...

وصف كامل

محفوظ في:
التفاصيل البيبلوغرافية
المؤلفون الرئيسيون: เพชรรัตน์ จันทรทิณ, อัจฉริยา มณีน้อย, วีระเดช สุขเอียด
مؤلفون آخرون: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
التنسيق: Technical Report
اللغة:Thai
منشور في: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
الموضوعات:
الوصول للمادة أونلاين:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12343
الوسوم: إضافة وسم
لا توجد وسوم, كن أول من يضع وسما على هذه التسجيلة!
المؤسسة: Chulalongkorn University
اللغة: Thai
id th-cuir.12343
record_format dspace
spelling th-cuir.123432010-03-26T02:36:55Z การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย Screening for tissue culture derived plaunoi plant resistable to crude extract toxin from glomerella cingulata เพชรรัตน์ จันทรทิณ อัจฉริยา มณีน้อย วีระเดช สุขเอียด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ เปล้าน้อย (พืช) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โรคใบจุดของเปล้าน้อย (Croton sublyratus Kurz.) เกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulata โดยมี Colletotrichum gloeosporioides เป็น imperfect stage เชื้อราสามารถเจริญและสร้างสปอร์ได้ดีบนอาหาร Czapek agar (CZA) น้ำหนักแห้งของเส้นใยและปริมาณสารสกัดจากเชื้อรามีมากที่สุดเมื่อเลี้องเชื้อในอาหารเหลว Czapek dox medium เป็นเวลา 4 วัน ในการทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดจากเชื้อราโดยวิธีการหยดสารสกัดจากเชื้อราลงบนใบเปล้าน้อยพบว่า สารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้น 10,000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถทำให้เกิดอาการใบจุดกับเปล้าน้อยได้ จากการวิเคราะห์สารสกัดจากเชื้อราด้วยวิธี HPLC พบว่า เชื้อรา Glomerella cingulata สามารถสร้างสาร indoleacetic acid (IAA) และ phenylacetic acid (PAA) ได้ ซึ่งจากการนำสารมาตรฐานของสารทั้งสองชนิดนี้มาทดสอบกับใบเปล้าน้อยสารถก่อให้เกิดอาการแผลโรคเหมือนกับแผลโรคที่เกิดจากเชื้อราเช่นเดียวกัน แสดงว่าสาร IAA และ PAA เป็นสารพิษที่เป็นตัวการสำคัญต่อการเกิดโรค ในการเลี้ยงชิ้นส่วนปล้องเปล้าน้อยบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถเพิ่มปริมาณยอดเฉลี่ยสูงสุด 3.9 ยอดต่อชิ้นพืช จากการนำยอดมาคัดเลือกให้ต้านทานสารสกัดจากเชื้อราโดยเลี้ยงในอาหารสูตรเดิมที่เติมสารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้น 0 , 10, 100, 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าเมื่อความเข้มข้นของสารสกัดจากเชื้อราเพิ่มขึ้น เปอร์เซ็นต์ยอดที่รอดชีวิต ความสูงเฉลี่ยของยอดและจำนวนยอดแฉลี่ยส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง เมื่อนำยอดเปล้าน้อยที่รอดชีวิต ย้ายเลี้ยงในอาหารที่ผสมสารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้นสูงขึ้น โดยยอดที่ไม่ต้านทานสารสกัดจากเชื้อราจะมีการเจริญเติบโตน้อยลงและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ส่วนยอดที่รอดชีวิตสามารถเจริญเป็นยอดปกติ The causal organism of leafspot disease of Croton Sublyratus Kurz is Glomerella cingulata which is Colletotrichum gloeosporioides as imperfect stage. Optimum growth and sporulation of this fungus were found on Czapek agar. It produced maximum dry weight as well as crude extact toxin in Czapek Dox medium at 4th days. Test toxicity of crude extract toxin by leaves assay revealed that crude extract toxin at concentration 10,000 mg/l can produce the similar symptom as product by the pathogen. The crude extract toxin was analysed by HPLC showed that Glomerella cingulata produced indoleacetic acid (IAA) and phenylacetic acid (PAA). Using standard of IAA and PAA for leaves assay which disease symptom were similar to cause by the fungus. The result suggested that IAA and PAA were the pathotoxin. Stem segments of Croton sublyratus Kurz were cultured on Murashige and Skoog (MS) medium which supplement with BA at concentration 1 mg/l gave hightest shoot number of 3.9 shoots. Shoots were screened for resistance to crude extract toxin by placing on the medium contained with crude extract toxin at concentrations of 0 , 10 ,100 ,500 and 1,000 mg/l. The result indicated that the increasing of concentrations of the toxin would reduce percent survival of shoot, number of shoots and height of shoots. The survived shoots were selected again in high concentration of crude extract toxin. The susceptible shoots became brown and reduction in growth but the survived shoots grew the same as control. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2010-03-26T02:36:54Z 2010-03-26T02:36:54Z 2542 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12343 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4569866 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เปล้าน้อย (พืช)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
spellingShingle เปล้าน้อย (พืช)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เพชรรัตน์ จันทรทิณ
อัจฉริยา มณีน้อย
วีระเดช สุขเอียด
การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
description โรคใบจุดของเปล้าน้อย (Croton sublyratus Kurz.) เกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulata โดยมี Colletotrichum gloeosporioides เป็น imperfect stage เชื้อราสามารถเจริญและสร้างสปอร์ได้ดีบนอาหาร Czapek agar (CZA) น้ำหนักแห้งของเส้นใยและปริมาณสารสกัดจากเชื้อรามีมากที่สุดเมื่อเลี้องเชื้อในอาหารเหลว Czapek dox medium เป็นเวลา 4 วัน ในการทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดจากเชื้อราโดยวิธีการหยดสารสกัดจากเชื้อราลงบนใบเปล้าน้อยพบว่า สารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้น 10,000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถทำให้เกิดอาการใบจุดกับเปล้าน้อยได้ จากการวิเคราะห์สารสกัดจากเชื้อราด้วยวิธี HPLC พบว่า เชื้อรา Glomerella cingulata สามารถสร้างสาร indoleacetic acid (IAA) และ phenylacetic acid (PAA) ได้ ซึ่งจากการนำสารมาตรฐานของสารทั้งสองชนิดนี้มาทดสอบกับใบเปล้าน้อยสารถก่อให้เกิดอาการแผลโรคเหมือนกับแผลโรคที่เกิดจากเชื้อราเช่นเดียวกัน แสดงว่าสาร IAA และ PAA เป็นสารพิษที่เป็นตัวการสำคัญต่อการเกิดโรค ในการเลี้ยงชิ้นส่วนปล้องเปล้าน้อยบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถเพิ่มปริมาณยอดเฉลี่ยสูงสุด 3.9 ยอดต่อชิ้นพืช จากการนำยอดมาคัดเลือกให้ต้านทานสารสกัดจากเชื้อราโดยเลี้ยงในอาหารสูตรเดิมที่เติมสารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้น 0 , 10, 100, 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าเมื่อความเข้มข้นของสารสกัดจากเชื้อราเพิ่มขึ้น เปอร์เซ็นต์ยอดที่รอดชีวิต ความสูงเฉลี่ยของยอดและจำนวนยอดแฉลี่ยส่วนใหญ่มีแนวโน้มลดลง เมื่อนำยอดเปล้าน้อยที่รอดชีวิต ย้ายเลี้ยงในอาหารที่ผสมสารสกัดจากเชื้อราความเข้มข้นสูงขึ้น โดยยอดที่ไม่ต้านทานสารสกัดจากเชื้อราจะมีการเจริญเติบโตน้อยลงและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ส่วนยอดที่รอดชีวิตสามารถเจริญเป็นยอดปกติ
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
เพชรรัตน์ จันทรทิณ
อัจฉริยา มณีน้อย
วีระเดช สุขเอียด
format Technical Report
author เพชรรัตน์ จันทรทิณ
อัจฉริยา มณีน้อย
วีระเดช สุขเอียด
author_sort เพชรรัตน์ จันทรทิณ
title การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
title_short การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
title_full การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา Glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
title_sort การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้ต้านทานต่อสารพิษของเชื้อรา glomerella cingulata : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12343
_version_ 1681410082855714816