Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand

87 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Chutiwat Sawangkit
Other Authors: Montri Choowong
Format: Theses and Dissertations
Language:English
Published: Chulalongkorn University 2024
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:96312
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: English
id 96312
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language English
description 87 pages
author2 Montri Choowong
author_facet Montri Choowong
Chutiwat Sawangkit
format Theses and Dissertations
author Chutiwat Sawangkit
spellingShingle Chutiwat Sawangkit
Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
author_sort Chutiwat Sawangkit
title Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
title_short Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
title_full Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
title_fullStr Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
title_full_unstemmed Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand
title_sort geomorphological evolution of the mun river, surin province northeastern thailand
publisher Chulalongkorn University
publishDate 2024
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:96312
_version_ 1829259937828569088
spelling 963122025-03-17T04:23:00Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:96312 ©Chulalongkorn University Thesis 10.58837/CHULA.THE.2024.253 eng Chutiwat Sawangkit Geomorphological evolution of the Mun river, Surin province northeastern Thailand วิวัฒนาการธรณีสัณฐานของแม่น้ำมูล จังหวัดสุรินทร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย Chulalongkorn University 2024 2024 87 pages From 1973 to 2023, the Mun River in Surin Province, Thailand, underwent geomorphological evolution. This study examines changes in channel parameters to determine how human activity and natural processes affect river shape. This study measures changes in four important geomorphological parameters channel sinuosity, radius of curvature, channel width, and channel length by analyzing the data from C (ERT), satellite imagery, and topographic maps. A dynamic meandering process that has created oxbow lakes, neck and chute cut-offs, and other geomorphological features throughout time is visible on satellite photos. Significant morphological changes have been brought about, notably, by the building of dams, such the Pak Mun Dam, and greater agricultural growth. The rip current of the dams has reduced the natural sinuosity and stabilized the river channel, limiting meandering and altering sediment transport dynamics, i.e. sediment accumulation in the reservoir area of ​​the dam because the sediment cannot move out. Subsurface data from ERT supplement surface observations by exposing paleochannels and sediment layers that reflect past changes in the river s course, demonstrating the interaction of erosional and depositional processes. The data show that, while the river s meandering grew until the 1990s, dam building and infrastructure development have subsequently impeded lateral migration, restricted sediment flow, and decreased natural meander formation. Overall, this study emphasizes the cumulative influence of natural forces and human activities on the history of the Mun River, providing useful insights for future river management and conservation initiatives. The study emphasizes the need of sustainable land and water management methods in preventing additional river degradation and supporting fluvial system resilience throughout time. การศึกษานี้วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางธรณีสัณฐานวิทยาของแม่น้ำมูลในจังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2566 โดยศึกษาลักษณะต่าง ๆ ของลำน้ำเพื่อทำความเข้าใจผลกระทบจากกระบวนการทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ที่มีต่อสัณฐานของแม่น้ำ งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม แผนที่ภูมิประเทศ และข้อมูลการวัดความต้านทานไฟฟ้า (ERT) เพื่อหาค่าการเปลี่ยนแปลงในตัวชี้วัดหลักของสัณฐานวิทยาทั้งหมดสี่ชนิด ประกอบไปด้วย ดัชนีความคดเคี้ยว รัศมีความโค้ง ความกว้าง และความยาวของลำน้ำ ผลการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงให้เห็นถึงกระบวนการคดเคี้ยวของแม่น้ำที่ทำให้เกิดการตัดผ่านของทางน้ำบริเวณที่มีการสะสมตัวของตะกอนและการตัดผ่านของทางน้ำบริเวณคอขวดแม่น้ำ ทำให้เกิดทะเลสาบรูปแอก และลักษณะทางธรณีสัณฐานอื่น ๆ ตามกาลเวลา ทั้งนี้ การสร้างเขื่อน เช่น เขื่อนปากมูล และการขยายพื้นที่เกษตรกรรมในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญในสัณฐานของแม่น้ำ โดยเฉพาะผลกระทบจากน้ำไหลย้อนกลับของเขื่อนทำให้ดัชนีความคดเคี้ยวของแม่น้ำลดลงและลำน้ำมีเสถียรมากขึ้น ทำให้การคดเคี้ยวตามธรรมชาติลดลงและมีการเปลี่ยนแปลงในพลศาสตร์การเคลื่อนตัวของตะกอน คือการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณอ่างเก็บน้ำของเขื่อนเนื่องจากตะกอนไม่เคลื่อนที่ออกไปได้ ข้อมูลชั้นใต้ผิวจากการใช้ ERT ยังช่วยเสริมข้อมูลจากการสังเกตที่ผิวดิน โดยแสดงถึงร่องรอยธารน้ำเก่า (paleochannels) และชั้นตะกอนที่บันทึกการเคลื่อนที่ของลำน้ำในอดีต แสดงถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการกัดเซาะและการสะสมตัวของตะกอน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าความคดเคี้ยวของแม่น้ำมูลมีแนวโน้มค่อยๆเพิ่มขึ้นจนถึงช่วงทศวรรษ 1990 แต่หลังจากนั้น ได้มีการสร้างเขื่อนและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของมนุษย์ได้จำกัดการเคลื่อนตัวด้านข้าง การไหลของตะกอนและการก่อตัวของแม่น้ำที่คดเคี้ยวตามธรรมชาติจึงลดลง งานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นถึงผลสะสมจากแรงกระทำทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ต่อวิวัฒนาการของแม่น้ำมูล นำไปสู่ข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่าเพื่อการจัดการและอนุรักษ์แม่น้ำในอนาคต และเน้นย้ำถึงความสำคัญของการจัดการทรัพยากรที่ดินและน้ำอย่างยั่งยืนเพื่อป้องกันการเสื่อมโทรมของแม่น้ำและสนับสนุนความยืดหยุ่นในระยะยาวของระบบแม่น้ำ Montri Choowong https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/96312.jpg