ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย

179 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เตชิต เลิศเอนกวัฒนา
Other Authors: เบญจพล เบญจพลากร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2023
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:95451
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 95451
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description 179 pages
author2 เบญจพล เบญจพลากร
author_facet เบญจพล เบญจพลากร
เตชิต เลิศเอนกวัฒนา
format Theses and Dissertations
author เตชิต เลิศเอนกวัฒนา
spellingShingle เตชิต เลิศเอนกวัฒนา
ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
author_sort เตชิต เลิศเอนกวัฒนา
title ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
title_short ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
title_full ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
title_fullStr ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
title_full_unstemmed ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
title_sort ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2023
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:95451
_version_ 1829262193162452992
spelling 954512025-03-07T01:18:38Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:95451 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2023.769 tha เตชิต เลิศเอนกวัฒนา ผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถการควบคุมความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟของนักกีฬาอีสปอร์ตชาย Effects of combined physical-cognitive exercise on attention control ability and brain-derived neurotrophic factor (bdnf) serum in male e-sports athletes จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2023 2023 179 pages ความตั้งใจเป็นทักษะที่สำคัญในการเล่นกีฬาอีสปอร์ตโดยส่งผลต่อการตัดสินใจ เวลาปฏิกิริยา และทักษะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนถึงความสามารถในการเล่นเกมโดยรวม จึงเป็นไปได้ว่าการพัฒนาความสามารถด้านความตั้งใจอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเล่นกีฬาอีสปอร์ตได้การวิจัยในครั้งนี้จึงมุ่งศึกษาลักษณะความสามารถความตั้งใจในกีฬาอีสปอร์ต โดยแบ่งเป็นสองการศึกษา ดังนี้การศึกษาที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถความตั้งใจระหว่างนักกีฬาอีสปอร์ตมืออาชีพและผู้เล่นอีสปอร์ตระดับมหาวิทยาลัย โดยทำการทดสอบความสามารถด้านความตั้งใจในนักกีฬาอีสปอร์ตมืออาชีพ 8 คนและผู้เล่นอีสปอร์ตระดับมหาวิทยาลัย 8 คนจากนักกีฬาอีสปอร์ตประเภทโมบา(MOBA) โดยใช้การทดสอบความตั้งใจแบบกระพริบ ทดสอบการค้นหาด้วยสายตา และการตอบสนองต่อสัญญาณไฟปฏิกิริยา ผลการทดลองพบว่ากลุ่มนักกีฬาอีสปอร์ตมืออาชีพมีอัตราการตอบสนองถูกต้องสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในการทดสอบความตั้งใจแบบกระพริบ (p = .033) และมีเวลาปฏิกิริยาตอบสนองเร็วกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในการทดสอบการค้นหาด้วยสายตา (p = .002) ในส่วนของการทดสอบตอบสนองต่อสัญญาณไฟปฏิกิริยาไม่พบว่ามีความแตกต่างกันการศึกษาที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการฝึกแบบผสมผสานระหว่างการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาต่อความสามารถด้านความตั้งใจและปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟ โดยทำการทดลองในนักกีฬาอีสปอร์ตที่ผ่านการแข่งขันในรายการ CU Open จำนวน 32 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มฝึกผสมผสานการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญา (Physical-Cognitive Exercise ;PCE) กลุ่มฝึกออกกำลังกาย (Physical Exercise; PE),กลุ่มฝึกพุทธิปัญญา (Cognitive Exercise (CE),และกลุ่มควบคุม (C). โดยทำการฝึก 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ทำการทดสอบความตั้งใจแบบกระพริบ การค้นหาด้วยสายตา การตอบสนองต่อสัญญาณไฟปฏิกิริยา และวัดปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟ ก่อนการทดลอง หลังการฝึกครั้งแรก และหลังการฝึก 4 สัปดาห์ ผลฉับพลันจากการฝึกพบว่า กลุ่ม PE และ CE มีอัตราการตอบสนองถูกต้องสูงกว่ากลุ่ม PCE และกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .017, = .020 และ p < .001, < .001 ตามลำดับ) ในการทดสอบความตั้งใจแบบกระพริบ และกลุ่ม CE มีเวลาปฏิกิริยาในการตอบสนองเร็วกว่ากลุ่มอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .004) ในการทดสอบการค้นหาด้วยสายตา หลังการฝึก 4 สัปดาห์ กลุ่ม PCE PE และ CE มีอัตราการตอบสนองถูกต้องสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .028, .008, < .001 ตามลำดับ) ในการทดสอบความตั้งใจแบบกระพริบ และกลุ่ม PCE และ PE มีอัตราการตอบสนองถูกต้องมากกว่ากลุ่ม CE อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .021, .003 ตามลำดับ) ในการทดสอบการค้นหาด้วยสายตา แต่มีเวลาปฏิกิริยาในการตอบสนองที่ช้ากว่ากลุ่ม CE (p = .003, .004) ในส่วนของปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟ หลังการฝึกครั้งแรกพบว่ากลุ่ม PE มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .004) และหลังการฝึก 4 สัปดาห์พบว่ากลุ่ม PCE และ PE มีปริมาณเซรั่มบีดีเอ็นเอฟเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .004, .024 ตามลำดับ)จากผลการทดลองพบว่านักกีฬาอีสปอร์ตมืออาชีพมีความสามารถความตั้งใจที่สูงกว่านักกีฬาอีสปอร์ตในระดับสมัครเล่น โดยการฝึกแบบผสมผสานการออกกำลังกายและการฝึกพุทธิปัญญาสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพความตั้งใจของนักกีฬาอีสปอร์ตในระดับสมัครเล่นได้ จึงอาจใช้เป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาความสามารถความตั้งใจ และอาจช่วยเพิ่มความสามารถในการเล่นและแข่งขันกีฬาอีสปอร์ตได้ทางหนึ่ง Attention performance is crucial in esports, affecting gameplay, decision-making, and reaction time. Enhancing attention is expected to improve esports performanceThe first study compared attentional abilities between 8 professional and 8 university MOBA players using attentional blink, visual search, and reaction light tests. Professionals showed higher accuracy (p = .033) in the attentional blink test and faster reaction times (p = .002) in the visual search test, with differences in response accuracy for varying object numbers but no variance in reaction light test timesThe second study examined the impact of combined physical-cognitive training on attention control ability and serum BDNF in 32 CU Open Esports Tournament participants, divided into four groups: Physical-Cognitive Exercise (PCE), Pure Physical Exercise (PE), Pure Cognitive Exercise (CE), and Control (C). Each group completed a 4-week, 8-session program. Acute effects showed significantly higher attentional blink accuracy for CE and PE compared to PCE and control (p = .014, .020 and p < .001, < .001 respectively), and CE having quicker visual search reaction times than others (p = .004). The 4-week training effects showed PCE, PE, and CE having higher attentional blink accuracy than control (p = .028, .008 and < .001 respectively). PCE and PE showed higher visual search accuracy than CE (p = .021, .003 respectively) but slower visual search reactions (p = .003, .004). A significant increase in serum BDNF was observed in PE after the first training session (p = .004) and then in PCE and PE after 4 weeks of training (p = .004, .024)In conclusion, professional esports players have higher attention control ability than university esports players. Combined physical-cognitive exercise training can significantly improve attentional performance in university esports players, which can be used to improve attention control ability and can be an alternative way to enhance esports playing or competing performance. เบญจพล เบญจพลากร https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/95451.jpg