ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์

208 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร
Other Authors: บุษรา โพวาทอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2017
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:52162
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 52162
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description 208 pages
author2 บุษรา โพวาทอง
author_facet บุษรา โพวาทอง
อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร
format Theses and Dissertations
author อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร
spellingShingle อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
author_sort อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร
title ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
title_short ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
title_full ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
title_fullStr ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
title_full_unstemmed ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
title_sort ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2017
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:52162
_version_ 1829271342313111552
spelling 521622024-03-19T11:24:36Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:52162 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2017.716 tha อรศศิพัชร์ ศิริวรรณพร ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในศูนย์การค้าชุมชน กรณีศึกษา: โครงการเดอะแจส รามอินทรา,เดอะแจส วังหิน และแจส เออเบิร์น ศรีนครินทร์ CUSTOMER SATISFACTION IN COMMUNITY MALLS: CASE STUDIES OF THE JAS RAMINTRA, THE JAS WANGHIN AND JAS URBAN SRINAKARIN จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2017 2017 208 pages One way to make community malls successful is to increase customer satisfaction in order that they return to the malls and use their services again. The current research endeavor mainly aimed to study customer satisfaction in 3 community malls including the Jas Wanghin (JWH), the Jas Ramintra (JRD), and the Jas Urban Srinakarin (JSR) by means of in-depth interviews with the owners and questionnaires answered by 400 service users. The data were then analyzed by means of descriptive statistics and correlations between variables. The result revealed that, first, all of the 3 the Jas malls had similar concepts of development and marketing strategies. The marketing varied depending on the location, the community clients, and the competitors. Second, most service users were 18-24 years old, who resided in the area, which took them less than 30 minutes to travel to the malls and they spent 1-3 hours each time at the malls. Moreover, each time, each of them spent approximately 500-1,500 Baht. The purposes of going to the malls were such as purchasing goods and services, meeting, and eating. In addition, it is discovered that th ages of customers were correlated with durations and spending tendencies. Third, customers of the three the Jas malls were very satisfied with products, prices, locations, and after-sale services. Lastly, different genders and ages did not affect the customer satisfaction in any aspect. Nevertheless, different occupations showed different customer satisfaction levels in products and prices. The result further pointed out that customers of all 3 the Jas malls, both major and minor ones, in different locations, showed similar behaviors and all showed the most satisfaction in after-sale services. The current study would benefit mall owners in developing and planning marketing strategies consistent with socioeconomic conditions, behaviors, and customer satisfaction. การดำเนินการศูนย์การค้าชุนชมให้สำเร็จประการหนึ่งคือการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเพื่อให้กลับมาใช้บริการอีก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าในการเข้าใช้บริการศูนย์การค้าชุมชนเดอะแจส 3 แห่ง คือ เดอะแจส วังหิน (JWH), เดอะแจสรามอินทรา (JRD), และแจส เออร์เบิร์น ศรีนครินทร์ (JSR) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการและทำแบบสอบถามผู้ใช้บริการจำนวน 400 ชุด และนำมาวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการศึกษาพบว่า 1) เดอะแจสทั้งสามแห่งมีแนวคิดในการพัฒนาและการวางกลยุทธ์การตลาดที่คล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ ส่วนผสมการตลาดจะขึ้นอยู่กับทำเล, กลุ่มลูกค้าในชุมชน และคู่แข่งในรัศมีการค้านั้นๆ 2) กลุ่มผู้ใช้บริการส่วนใหญ่อายุ 18 – 24 ปี อาศัยอยู่ในรัศมีการค้าของศูนย์ฯนั้นๆ ใช้เวลาเดินทางไม่เกิน 30 นาที มีระยะเวลาการเข้าใช้บริการที่ 1-3 ชั่วโมง และมีค่าใช้จ่ายต่อครั้ง 500-1,500 บาทต่อคน โดยมีวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้บริการ ได้แก่ ซื้อสินค้าและบริการ พบปะสังสรรค์ และรับประทานอาหาร ทั้งยังพบว่าอายุที่แตกต่างกันของผู้ใช้บริการมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้บริการ 3) ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการเข้าใช้บริการศูนย์กาค้าชุมชนเดอะแจสทั้งสามแห่งในด้านผลิตภัณฑ์, ด้านราคา, ด้านที่ตั้ง, และด้านส่วนส่งเสริมการขาย อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 4) เพศและอายุที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อความพึงพอใจในการเข้าใช้บริการในทุกด้าน แต่กลุ่มอาชีพและรายได้ที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่แตกต่างกันในด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ผู้ใช้บริการศูนย์การค้าชุมชนเดอะแจสทั้งสามแห่ง ทั้งกลุ่มลูกค้าหลักและกลุ่มลูกค้ารองในทำเลที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการเข้าใช้บริการที่คล้ายคลึงกัน และมีความพึงพอใจด้านส่วนส่งเสริมการขายมากที่สุด ซึ่งงานวิจัยในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบการในการพัฒนาและวางกลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้องกับลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม พฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อไป บุษรา โพวาทอง https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/52162.jpg