การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง

264 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สายันต์ คงศรีเจริญ
Other Authors: ธนิต ธงทอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1999
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:47249
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 47249
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic Building -- Estimates
Roadsการก่อสร้าง -- การประมาณราคา
ทางหลวง
spellingShingle Building -- Estimates
Roadsการก่อสร้าง -- การประมาณราคา
ทางหลวง
สายันต์ คงศรีเจริญ
การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
description 264 pages
author2 ธนิต ธงทอง
author_facet ธนิต ธงทอง
สายันต์ คงศรีเจริญ
format Theses and Dissertations
author สายันต์ คงศรีเจริญ
author_sort สายันต์ คงศรีเจริญ
title การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
title_short การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
title_full การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
title_fullStr การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
title_full_unstemmed การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
title_sort การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 1999
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:47249
_version_ 1829268735728287744
spelling 472492024-03-18T18:08:21Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:47249 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.1999.787 tha สายันต์ คงศรีเจริญ การศึกษาแบบจำลองสำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง A study of models for cost estimation of highway construction จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1999 1999 264 pages This study aims to develop models to be applied for the cost estimation of highway construction with two approaches; cost estimation by modeling quantity of work and cost estimation by modeling prices, based upon the data on quantity of work and cost obtained from previous highway construction projects. The proposed models are introduced as another alternative in cost estimation of highway construction work, apart from detailed quantity take-off which needs to be carried out by specialists and is both time and cost consuming. Data for developing the models are from 55 highway construction projects under the Department of Highway between 1987 and 1997. Additional data gained from ten more construction projects are then used to validate these developed models. The highways mentioned in this study are categorized by pavement materials into two types; asphaltic concrete pavement and reinforced concrete pavement. For cost estimation by modeling quantity of work, two methods are used which are average quantity per roadway area and multiple regression analysis for quantity. For cost estimation by modeling prices, only the method of multiple regression analysis for price is employed. According to the average quantity per roadway area, average work amount per the total roadway area is used to estimate the quantity and cost of construction work. As for multiple regression analysis for quantity, this model presents the relationship between the work amount and three variables; total distance, roadway area, and width of the right of way. For cost estimation by modeling prices, the multiple regression analysis is used to form the relationship between direct cost and seven variables; total distance, roadway area, width of the right of way, length of bridges, length of pipes, volume of box culverts and areas of bearing units. The models are validated based on the data obtained from 10 highway construction projects, five asphaltic concrete pavements and five reinforced concrete pavements. The test results indicate that the model developed by multiple regression for quantity and average quantity per roadway area have the lowest deviation and are also found appropriate for asphaltic concrete pavement and reinforced concrete pavement highways. However, this proposed models for cost estimation can be improved to be more accurate by increasing numbers of highway construction projects for the development of the models, as well as appropriately classifying types and characteristics of highways components, including using component ratio analysis. การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาแบบจำลองที่ใช้ในการประมาณราคาค่าก่อสร้างงานทางหลวง ใน 2 แนวทาง คือ การประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองปริมาณเนื้องาน และการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองราคาโดยตรง จากข้อมูลปริมาณเนื้องานและราคาค่าก่อสร้างของโครงการก่อสร้างทางหลวงที่ผ่านมา เพี่อเป็นทางเลือกหนึ่งในการประมาณราคางานก่อสร้าง นอกจากการถอดแบบซึ่งต้องอาศัยผู้ที่มีทักษะเฉพาะด้าน สิ้นเปลืองระยะเวลาและค่าใช้จ่ายมาก การวิจัยใช้ข้อมูลงานก่อสร้างทางหลวงของกรมทางหลวง ปี พ.ศ 2530 - 2540 จำนวน 55 โครงการ ส่าหรับพัฒนาแบบจำลองที่ใช่ในการประมาณราคาค่าก่อสร้างทั้ง 2 แนวทาง และข้อมูลงานก่อสร้างจำนวน 10 โครงการ สำหรับทดสอบความคลาดเคลื่อนของแบบจำลองดังกล่าว การดำเนินการวิจัยได้แบ่งประเภทงานทางตามวัสดุที่ใช้ทำผิวจราจร ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ งานทางผิวจราจรแบบแอสฟัลต์ติกคอนกรีต และงานทางผิวจราจรแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก การพัฒนาแบบจำลองในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองปริมาณเนื่องงาน พัฒนาด้วย 2 วิธี คือ วิธีปริมาณเฉลี่ยต่อพื้นที่ผิวจราจร (Average Quantity per Roadway Area) และวิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงช้อนโดยปริมาณ (Multiple Regression for Quantity) สำหรับการพัฒนาแบบจำลองในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองราคาโดยตรง พัฒนาด้วย 1 วิธี คือ วิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงซ้อนโดยราคา (Multiple Regression for Price) แบบจำลองในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองปริมาณเนื้องานโดยวิธีปริมาณเฉลี่ยต่อพื้นที่ผิวจราจรนั้นใช้ค่าเฉลี่ยของปริมาณเนี้องานต่อพื้นที่ผิวจราจรในการประมาณปริมาณเนื้องาน แบบจำลองโดยวิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงซ้อนโดยปริมาณใช้ความสัมพันธ์ของปริมาณเนื้องานกับตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร คือ ระยะทางรวมพื้นที่ผิวจราจร และความกว้างเขตทางส่วนแบบจำลองในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองราคาโดยตรงใช้ความสัมพันธ์ของราคาค่าก่อสร้างโดยตรงกับตัวแปรอิสระ 7 ตัวแปร คือ ระยะทางรวม พื้นที่ผิวจราจร ความกว้างเขตทาง ความยาวสะพาน ความยาวท่อระบายน้ำ ปริมาตรท่อเหลี่ยม และพื้นที่แบริ่งยูนิต ที่ใช้ในการประมาณราคาค่าก่อสร้าง การทดสอบความคลาดเคลื่อนของแบบจำลองที่ใช้ในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองปริมาณเนื้องานและแบบจำลองในการประมาณราคาค่าก่อสร้างจากการจำลองราคาโดยตรง ทั้ง 3 แบบจำลอง ซึ่งประกอบด้วยงานทาง ผิวจราจรแบบแอสฟัลต์ติกคอนกรีต 5 โครงการ และงานทางผิวจราจรแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 5 โครงการ พบว่าแบบจำลอง ในการประมาณปริมาณเนื้องานโดยวิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงซ้อนและวิธีปริมาณเฉลี่ยมีค่าความคลาดเคลื่อนต่ำสุด และพบว่าเหมาะสมทั้งงานทางผิวจราจรแบบแอสฟัลต์ติกคอนกรีตและงานทางผิวจราจรแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยทั้งนี้แบบจำลอง สำหรับการประมาณราคาค่าก่อสร้างดังกล่าวสามารถปรับปรุงให้มีความแม่นยำมากขึ้น โดยการเพิ่มจำนวนข้อมูลโครงการที่ใช้ในการพัฒนาแบบจำลอง การแบ่งประเภทงานทาง และการกำหนดลักษณะของโครงการให้เหมาะสมและการวิเคราะห์โดยใช้วิธีสัดส่วนขององค์ประกอบ Building -- Estimates Roadsการก่อสร้าง -- การประมาณราคา ทางหลวง ธนิต ธงทอง วิสุทธิ์ ช่อวิเชียร https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/47249.jpg