การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie

87 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์
Other Authors: วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2004
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:45548
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 45548
record_format dspace
spelling 455482024-03-18T12:48:32Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:45548 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2004.1283 tha ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์ การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie Design and development of a field mobile robot using the rocker-bogie mechanism จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2004 2004 87 pages To describe the design, development and testing of a rocket-biogie six-wheel robot. This mobile roboth is a six wheel drive with the medhanism. Rocker-bogie, for maintaining full time ground contact. During the flat plane motion, the weight of a robot distributes equally to all wheels to maximize climbing performance especially when the obstacles size langer than the radius of whee. The mobility of robot is to shown the ability of motion on various surface types such as rocky rough surface, grass soft surface and concrete surface. For accuracy test, the test consists of measurement of motion error in different direction. The maximum error of forward and backward moving along 2.5 meter straight line less than 6 millimeters, and the maximum error of turning in 1.5 meters and 2 meters turning radius are less than 6 millimeters. ออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยล้อ และใช้ระบบช่วงล่าง Rocker-bogie การเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ที่ใช้ระบบช่วงล่างนี้ ล้อทุกล้อของตัวหุ่นยนต์จะสัมผัสกับพื้นผิวที่หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปตลอดเวลา จึงทำให้การกระจายน้ำหนักของหุ่นยนต์ลงบนล้อต่างๆ สม่ำเสมอ ส่งผลให้หุ่นยนต์มีความสามารถในการยึดเกาะปีนป่ายข้ามสิ่งกีดขวางต่างๆ ได้ดีกว่า การเคลื่อนที่โดยใช้ล้อขับเคลื่อนแบบปกติแต่เพียงอย่างเดียว การทดสอบหุ่นยนต์ประกอบด้วยการทดสอบการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ไปบนพื้นผิวลักษณะต่างๆ และการทดสอบวัดความผิดพลาดในการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ไปในทิศทางต่างๆ บนพื้นผิวเรียบ จากการทดสอบพบว่า หุ่นยนต์สามารถเคลื่อนที่ได้ดีทั้งบนพื้นผิวขรุขระและอ่อนนุ่ม การทดสอบความผิดพลาดสูงสุดในการเคลื่อนเดินหน้า ถอยหลังมีค่าไม่เกิน 6 มิลลิเมตร ภายในระยะทางการเคลื่อนที่ 2.5 เมตร มีค่าผิดพลาดสูงสุดในการเลี้ยวไม่เกิน 6 มิลลิเมตร ที่รัศมีความโค้ง 1.5 เมตรและ 2 เมตร หุ่นยนต์เคลื่อนที่--การออกแบบและการสร้าง วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/45548.jpg
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic หุ่นยนต์เคลื่อนที่--การออกแบบและการสร้าง
spellingShingle หุ่นยนต์เคลื่อนที่--การออกแบบและการสร้าง
ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์
การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
description 87 pages
author2 วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
author_facet วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์
format Theses and Dissertations
author ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์
author_sort ภูริพันธุ์ สุวรรณฤกษ์
title การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
title_short การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
title_full การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
title_fullStr การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
title_full_unstemmed การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie
title_sort การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก rocker-bogie
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2004
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:45548
_version_ 1829267849923788800