การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่

203 pages

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ
Other Authors: ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:42717
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 42717
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อาคาร -- การออกแบบและการสร้าง
แผ่นดินไหว
Buildings -- Design and construction
Earthquakes
spellingShingle อาคาร -- การออกแบบและการสร้าง
แผ่นดินไหว
Buildings -- Design and construction
Earthquakes
จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ
การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
description 203 pages
author2 ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี
author_facet ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี
จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ
format Theses and Dissertations
author จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ
author_sort จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ
title การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
title_short การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
title_full การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
title_fullStr การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
title_full_unstemmed การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
title_sort การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:42717
_version_ 1829265442692136960
spelling 427172024-03-18T06:26:19Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:42717 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2013.1160 tha จักรพันธ์ วุฒิเมืองขวัญ การเสริมกำลังต้านทานแผ่นดินไหวด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงเส้นและไม่เชิงเส้น: กรณีศึกษาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในจังหวัดเชียงใหม่ SEISMIC REHABILITATION BY LINEAR AND NONLINEAR ANALYSIS: CASE STUDY OF AN RC BUILDING IN CHIANG MAI จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013 2013 203 pages In the past, we had believed that Thailand was safe from seismic risk so many buildings weren t designed for resisting earthquake. But the number of earthquakes has increased over recent years. This research aims to present seismic evaluation and rehabilitation of existing building by following Thai Code (DPT.1303-57) in order to check performance level of the building, compare seismic evaluation results by using linear and nonlinear procedure and propose suitable retrofitting schemes at basic safety performance objective. The sample building is a 5 story square shaped building with middle opening (24.7 meters height). The lateral force resisting system consists of reinforced concrete frames, masonry walls and shear walls. It is found that sample building can not achieve basic safety objective under seismic hazard level of return period of 225 years because the elements fail to achieve life safety performance level. Moreover, the result of linear procedures showed the number of damaged elements more than nonlinear procedure. In order to save the budget of seismic rehabilitation scheme, nonlinear procedure is one of the suitable choices. Finally, global and local strengthening were used for rehabilitation in order to achieve basic safety objective. For global strengthening, steel bracing was used for reduction of global displacement, inter-story drift and internal force of the structure. Local strengthening was applied for elements with inadequate capacity by using FRP sheets for shear strengthening in beams and barrette piles for increasing lateral and uplift resistance capacity of foundations. ในอดีตเรามีความเชื่อกันว่าประเทศไทยนั้นค่อนข้างจะมีความปลอดภัยจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ทำให้การออกแบบก่อสร้างอาคารในอดีตนั้นมิได้ออกแบบให้อาคารสามารถต้านทานต่อแรงแผ่นดินไหวที่อาจจะเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ดี สถิติของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหวนั้นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการประเมินและเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้แก่อาคารเก่าตามมาตรฐานการประเมินและการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารในเขตที่อาจได้รับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยผ.1303-57) เพื่อตรวจสอบระดับสมรรถนะของอาคาร เปรียบเทียบผลการประเมินกำลังต้านทานแผ่นดินไหวหากเลือกใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงเส้นและไร้เชิงเส้น รวมทั้งนำเสนอแนวทางการเสริมความมั่นคงแข็งแรงที่เป็นไปได้สำหรับอาคารตัวอย่างโดยกำหนดเป้าหมายในการเสริมความมั่นคงแข็งแรงขั้นต่ำด้วยระดับเป้าหมายเพื่อความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน (Basic Safety Objective, BSO) อาคารตัวอย่างมีลักษณะสี่เหลี่ยมจัตุรัสตรงกลางเปิดโล่ง ความสูงรวม 24.7 เมตร จำนวน 5 ชั้น มีระบบต้านทานแรงด้านข้างซึ่งประกอบไปด้วยโครงเฟรม ผนังอิฐก่อและกำแพงรับแรงเฉือนคอนกรีตเสริมเหล็ก จากการศึกษาพบว่า อาคารดังกล่าวมีระดับสมรรถนะต้านทานแผ่นดินไหวไม่ผ่านเป้าหมายในการเสริมความมั่นคงแข็งแรงขั้นต่ำเนื่องจากองค์อาคารบางชิ้นส่วนมีกำลังต้านทานไม่เพียงพอที่ระดับปลอดภัยต่อชีวิตภายใต้ภัยแผ่นดินไหวระดับปานกลางที่มีคาบการกลับ 225 ปี โดยผลการประเมินกำลังต้านทานแผ่นดินไหวเมื่อใช้กระบวนการวิเคราะห์แบบเชิงเส้นให้ผลการประเมินที่มีร้อยละขององค์อาคารที่เสียหายมากกว่ากระบวนการวิเคราะห์แบบไร้เชิงเส้น ดังนั้นการเลือกใช้กระบวนการวิเคราะห์แบบไร้เชิงเส้นจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายสำหรับการเสริมกำลัง สำหรับการเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้แก่อาคารตัวอย่างจะเลือกทั้งการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างโดยรวมและการเสริมกำลังเฉพาะที่เพื่อให้อาคารตัวอย่างมีกำลังต้านทานแผ่นดินไหวผ่านเกณฑ์เป้าหมายในการเสริมความมั่นคงแข็งแรงขั้นต่ำ การเสริมค้ำยันเหล็กจะใช้สำหรับการเสริมกำลังโดยรวมเพื่อลดค่าการเคลื่อนที่ ค่าการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ระหว่างชั้นและแรงภายในโครงสร้างของอาคาร ส่วนการเสริมกำลังเฉพาะที่ในชิ้นส่วนที่มีกำลังต้านทานไม่เพียงพอจะใช้แผ่น FRP ในการเสริมกำลังต้านทานแรงเฉือนในคานและใช้เสาเข็มเจาะแบบสี่เหลี่ยมในการเสริมกำลังต้านทานแรงด้านข้างและแรงถอนในฐานราก อาคาร -- การออกแบบและการสร้าง แผ่นดินไหว Buildings -- Design and construction Earthquakes ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/42717.jpg