Application of groundwater temperature data for the determination of vertical groundwater velocities in the Chiang Mai basin, Thailand
อัตราการเติมน้ำเป็นตัวแปรที่สำคัญในการประเมินศักยภาพแหล่งน้ำบาดาล และการสร้างแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาล งานวิจัยนี้ได้เลือกใช้วิธีศึกษาหาอัตราการเติมน้ำจากข้อมูล อุณหภูมิน้ำบาดาล ในแอ่งเชียงใหม่ โดยทำการวัดอุณหภูมิน้ำบาดาลเป็นระยะไปตามความลึกจาก บ่อสังเกตการณ์ จำนวน 20 บ่อ ในช่วงฤดูแล้งปี พ.ศ. 2550 ผ...
Saved in:
主要作者: | |
---|---|
其他作者: | |
格式: | Theses and Dissertations |
語言: | English |
出版: |
Chulalongkorn University
2009
|
主題: | |
在線閱讀: | https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:38297 |
標簽: |
添加標簽
沒有標簽, 成為第一個標記此記錄!
|
機構: | Chulalongkorn University |
語言: | English |
總結: | อัตราการเติมน้ำเป็นตัวแปรที่สำคัญในการประเมินศักยภาพแหล่งน้ำบาดาล และการสร้างแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาล งานวิจัยนี้ได้เลือกใช้วิธีศึกษาหาอัตราการเติมน้ำจากข้อมูล อุณหภูมิน้ำบาดาล ในแอ่งเชียงใหม่ โดยทำการวัดอุณหภูมิน้ำบาดาลเป็นระยะไปตามความลึกจาก บ่อสังเกตการณ์ จำนวน 20 บ่อ ในช่วงฤดูแล้งปี พ.ศ. 2550 ผลจากการศึกษานี้พบว่าบ่อสังเกตการณ์ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่รับน้ำ ยกเว้นเพียง 4 บ่อ อยู่ในพื้นที่ให้น้ำ ผลคำนวนอัตราการเติมน้ำโดยรวมของแอ่งเชียงใหม่อยู่ในช่วงระหว่าง 1.62- 32.81 ซม./ปี โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 14.0 ซม./ปี หรือ ประมาณ 12% ของปริมาณน้ำฝนตลอดทั้งปี (116 ซม./ปี) นอกจากนี้อัตราการเติมน้ำสามารถจำแนกตามหน่วยตะกอนธรณีวิทยาได้ดังนี้ หน่วยแรก คือที่ราบตะกอนน้ำพา (Qcp) ได้อัตราการเติมน้ำเฉลี่ย ที่ 6.07 ซม./ปี ขณะที่หน่วยลานตะพักระดับ ต่ำ (Qcr) ได้อัตราการเพิ่มเติมน้ำเฉลี่ย ที่ 10.72 ซม./ปี และหน่วยลานตะพักระดับสูง (Qcm) ได้ อัตราการเพิ่มเติมน้ำเฉลี่ยที่ 23.13 ซม./ปี สำหรับบริเวณที่เป็นพื้นที่ให้น้ำนั้น อาจเกิดจากหลาย สาเหตุ เช่น มีการไหลจากชั้นน้ำบาดาลไปลงสู่แม่น้ำ และ/หรือ อยู่ในบริเวณที่มีการใช้น้ำบาดาล ในเขตเมืองและการเกษตรกรรมในปริมาณที่มากกว่าอัตราการเติมน้ำลงไป และ/หรือ อยู่ในบริเวณ ที่มีอุณหภูมิใต้พื้นพิภพสูงกว่าปกติในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ ขนานกับขอบ แอ่งและรอยเลื่อนแม่ทา ซึ่งวางตัวห่างจากแอ่งเชียงใหม่ประมาณ 10 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก ของแอ่ง |
---|