Antimicrobial compounds from endophytic fungi isolated from Casearia grewiaefolia Vent., Picrasma javanica BI., Oroxylum indicum (L.) Vent. and Erythrina variegata Linn.
งานวิจัยนี้ทำการหาสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่แยกจากราเอนโดไฟต์ที่แยกจากกรวยป่า กอมขม เพกา และทองหลางลาย โดยนำสารสกัดหยาบจากราเอนโดไฟต์มาทำการแยกสารบริสุทธิ์โดย ใช้เทคนิคทางโครมาโทกราฟี ได้สารบริสุทธิ์ 9 ชนิด ดังนี้ alternariol monomethyl ether (1), 5- carbomethoxymethyl-2-heptyl-7-hydroxychromo...
Saved in:
主要作者: | |
---|---|
其他作者: | |
格式: | Theses and Dissertations |
語言: | English |
出版: |
Chulalongkorn University
2009
|
主題: | |
在線閱讀: | https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:38238 |
標簽: |
添加標簽
沒有標簽, 成為第一個標記此記錄!
|
機構: | Chulalongkorn University |
語言: | English |
總結: | งานวิจัยนี้ทำการหาสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่แยกจากราเอนโดไฟต์ที่แยกจากกรวยป่า กอมขม เพกา และทองหลางลาย โดยนำสารสกัดหยาบจากราเอนโดไฟต์มาทำการแยกสารบริสุทธิ์โดย ใช้เทคนิคทางโครมาโทกราฟี ได้สารบริสุทธิ์ 9 ชนิด ดังนี้ alternariol monomethyl ether (1), 5- carbomethoxymethyl-2-heptyl-7-hydroxychromone (2), altersolanol A (3), macrosporin (4), 1, 2, 4, 5-tetrahydroxy-7-methoxy-2-methyl-1, 2, 3, 4-tetrahydroanthracene-9, 10-dione (5), alternariol (6), altenusin (7), 3’-methoxy-2-methylbiphenyl-4, 5, 5’-triol (8) และ 5’-epialtenuene (9) การพิสูจน์ โครงสร้างทางเคมีของสารเหล่านี้ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูล NMR ร่วมกับการเปรียบเทียบข้อมูลที่มีการ รายงานมาก่อน สาร (3), (5) และ(7) แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียเมื่อทดสอบด้วยวิธี MIC จากการ ประเมินฤทธิ์ร่วมของสารบริสุทธิ์และยา โดยใช้วิธี checkerboard พบว่าเมื่อสาร (5) แสดงผลเสริมฤทธิ์ (synergistic) กับเตตร้าซัยคลินในการต้านเชื้อ S. aureus (FIC index 0.12) และสาร (7) แสดงฤทธิ์เสริม กับเซฟไตรอะโซนในการต้านเชื้อ P. vulgaris (FIC index 0.09) จากการจำแนกชนิดของราโดยใช้ สัณฐานวิทยา และ ไรโบโซมอล RNA ยีนพบว่าราเอนโดไฟต์ 10B จัดอยู่ในสายพันธุ์ Alternaria sp. |
---|