วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

The purpose of this cross-sectional descriptive study was to carry out cost analysis of treated and non-treated infectious waste disposal. The composition of infectious wastes were collected and segregated at the sample infectious waste generators. To estimate the quantity of infectious wastes. The...

全面介紹

Saved in:
書目詳細資料
主要作者: เบญจพร จิตรหาญ
其他作者: ทศพร วิมลเก็จ
格式: Theses and Dissertations
語言:Thai
出版: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
主題:
在線閱讀:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:30217
標簽: 添加標簽
沒有標簽, 成為第一個標記此記錄!
機構: Chulalongkorn University
語言: Thai
id 30217
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ขยะทางการแพทย์
การกำจัดขยะ -- ต้นทุน
spellingShingle โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ขยะทางการแพทย์
การกำจัดขยะ -- ต้นทุน
เบญจพร จิตรหาญ
วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
description The purpose of this cross-sectional descriptive study was to carry out cost analysis of treated and non-treated infectious waste disposal. The composition of infectious wastes were collected and segregated at the sample infectious waste generators. To estimate the quantity of infectious wastes. The relevant of cost data were collected retrospectively. The total cost of treated and non-treated infectious wastes were computed from capital cost, labor cost and material cost. The treatment technologies for this study were autoclaving and microwaving. The result found that infectious waste quantities were 1286.16 kg (from 11 department, 7 days) or 183.94 kg/day. The major component was cotton, gauze and bandage (41.8%). The laboratory room produced the highest quantity of infectious wastes (233.92 kg.), and the highest rate of infectious waste generations were the operating and delivery room (4.98 kg./patient/day). The infectious wastes that can be treated by autoclaving and microwaving were 94.17% and 97.29% respectively. The cost analysis revealed that the total cost of autoclaving with capacity of treatment 32 kg/hr. was 10,416,871.79 baht (average total cost 24.95 baht/kg.), total cost of autoclaving with capacity of treatment 907 kg/hr. was 9,996,329.26 baht (average total cost 23.92 bath/kg.), total cost of autoclaving with capacity 1,000 litre was 9,468,084.74 baht (average total cost 22.67 baht/kg)., while total cost of microwaving capacity of treatment 100 kg/hr. was 10,942,700.09 baht (average total cost 26.21 baht/kg.), total cost of microwaving with capacity of treatment 408 kg/hr. was 12,468.127.15 baht (average total cost 29.86 baht/kg.). Total cost of non-treated infectious wastes were 9,928,127.05 bath (average total cost 23.78 baht/kg). the earliest break even point of technology was autoclaving with capacity 1,000 litre (at 340,146.89 kg. or in 10 month) and the operating cost changing has more effect to total cost of infectious waste disposal than the capital cost changing and the infectious waste quantity changing. The results of this useful for the administrator to allocate budget for infectious waste management and to make decision on the alternative technologies of infectious waste treatment to reduce infectious wastes and reduce cost in the future.
author2 ทศพร วิมลเก็จ
author_facet ทศพร วิมลเก็จ
เบญจพร จิตรหาญ
format Theses and Dissertations
author เบญจพร จิตรหาญ
author_sort เบญจพร จิตรหาญ
title วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
title_short วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
title_full วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
title_fullStr วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
title_full_unstemmed วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
title_sort วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:30217
_version_ 1829254954324328448
spelling 302172024-02-22T18:39:27Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:30217 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2006.691 tha เบญจพร จิตรหาญ วิเคราะห์ต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัด ก่อนส่งออกนอกโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย Cost analysis of waste disposal of treated and non-treated infectious waste : case study of King Chulalongkorn Memorial Hospital จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006 2006 The purpose of this cross-sectional descriptive study was to carry out cost analysis of treated and non-treated infectious waste disposal. The composition of infectious wastes were collected and segregated at the sample infectious waste generators. To estimate the quantity of infectious wastes. The relevant of cost data were collected retrospectively. The total cost of treated and non-treated infectious wastes were computed from capital cost, labor cost and material cost. The treatment technologies for this study were autoclaving and microwaving. The result found that infectious waste quantities were 1286.16 kg (from 11 department, 7 days) or 183.94 kg/day. The major component was cotton, gauze and bandage (41.8%). The laboratory room produced the highest quantity of infectious wastes (233.92 kg.), and the highest rate of infectious waste generations were the operating and delivery room (4.98 kg./patient/day). The infectious wastes that can be treated by autoclaving and microwaving were 94.17% and 97.29% respectively. The cost analysis revealed that the total cost of autoclaving with capacity of treatment 32 kg/hr. was 10,416,871.79 baht (average total cost 24.95 baht/kg.), total cost of autoclaving with capacity of treatment 907 kg/hr. was 9,996,329.26 baht (average total cost 23.92 bath/kg.), total cost of autoclaving with capacity 1,000 litre was 9,468,084.74 baht (average total cost 22.67 baht/kg)., while total cost of microwaving capacity of treatment 100 kg/hr. was 10,942,700.09 baht (average total cost 26.21 baht/kg.), total cost of microwaving with capacity of treatment 408 kg/hr. was 12,468.127.15 baht (average total cost 29.86 baht/kg.). Total cost of non-treated infectious wastes were 9,928,127.05 bath (average total cost 23.78 baht/kg). the earliest break even point of technology was autoclaving with capacity 1,000 litre (at 340,146.89 kg. or in 10 month) and the operating cost changing has more effect to total cost of infectious waste disposal than the capital cost changing and the infectious waste quantity changing. The results of this useful for the administrator to allocate budget for infectious waste management and to make decision on the alternative technologies of infectious waste treatment to reduce infectious wastes and reduce cost in the future. ศึกษาต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด และการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยไม่ผ่านการบำบัดส่งออกนอกโรงพยาบาล กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาหนึ่ง เก็บข้อมูล มูลฝอยติดเชื้อจากหน่วยงานต่างๆของโรงพยาบาลตามกลุ่มตัวอย่าง ใช้การประมาณค่าปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ และหาองค์ประกบของมูลฝอยติดเชื้อโดยใช้ค่าสัดส่วนคำนวณต้นทุน การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยผ่านการบำบัด ด้วยวิธีออโตเคลฟ และวิธีไมโครเวฟ และคำนวณต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โดยไม่ผ่านการบำบัด ซึ่งเป็นวิธีที่โรงพยาบาลปฏิบัติอยู่ โดยแบ่งต้นทุนออกเป็นต้นทุนคงที่ และต้นทุนผันแปร ผลการศึกษาพบว่าปริมาณมูลฝอยติดเชื้อใน 7 วัน จาก 11 หน่วยงานมี ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 1,286.16 กก.คิดเป็น 183.94กก./วัน โดยมูลฝอยติดเชื้อที่พบมากที่สุด คือ สำลี ก๊อซ ผ้าพันแผล (41.8%), หน่วยงานที่มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อมากที่สุดคือ ห้องตรวจทางปฏิบัติการ (233.92 กก.) เมื่อคำนวณอัตราการเกิดมูลฝอยติดเชื้อพบว่ากลุ่มห้องผ่าตัดและห้องคลอด มีอัตราการเกิดมูลฝอยติดเชื้อมากที่สุด (4.98 กก./คน/วัน) ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่สามารถบำบัดด้วยออโตเคลฟ และไมโครเวฟ ได้ คิดเป็น 94.17% และ 97.29% ตามลำดับ) การคำนวณต้นทุนการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พบว่า วิธีที่ผ่านการบำบัดด้วยกระบวนการออโตเคลฟ ขนาดความสามารถ 32 กก./ชม. มีต้นทุนรวม 10,416,871.79 บาท เฉลี่ยคิดเป็น 24.95 บาท/กก., การบำบัดด้วยกระบวนการออโตเคลฟขนาดความสามารถ 907 กก./ชม. มีต้นทุนรวม 9,986,329.26 บาท เฉลี่ยคิดเป็น 23.92 บาท/กก. การบำบัดด้วยกระบวนการออโตเคลฟ ขนาดความจะ 1,000 ลิตรแบบบรรจุมูลฝอยแบบเป็นรอบๆ มีต้นทุนรวม 9,468,084.74 บาท เฉลี่ยคิดเป็น 22.67 บาท/กก. การบำบัดด้วยกระบวนการทางไมโครเวฟ ขนาดความสามารถ 100 กก./ชม. มีต้นทุนรวม 10,942,700.09 บาท เฉลี่ยคิดเป็น 26.21 บาท/กก. การบำบัด้วยกระบวนการทางไมโครเวฟ ขนาดความสามารถ 408 กก./ชม. มีต้นทุน 12,468.127.15 บาท เฉลี่ยคิดเป็น 29.86 บาท/กก. และ วิธีที่ไม่ผ่านการบำบัดมีต้นทุนรวม 9,928,127.05 เฉลี่ยคิดเป็น 23.78 บาท/กก.โดยการบำบัดด้วยกระบวนการออโตเคลฟ ขนาดความจุ 1,000 ลิตร มีจุดคุ้มทุนเร็วที่สุดคือ ที่ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 340,146.89 กก. หรือประมาณ 10 เดือน และปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงต้นทุนรวมของการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 340,146,89 กก. หรือประมาณ 10 เดือน และปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงต้นทุนค่าดำเนินการ รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลงปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ และการเปลี่ยนแปลงต้นทุนค่าลงทุน ตามลำดับ ผลการศึกษานี้ สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลสำหรับผู้บริหารในจัดสรรทรัพยากร สำหรับใช้ในการกำจัดมูลติดเชื้อของโรงพยาบาล ตลอดจนเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกวิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่เหมาะสม 104 pages โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ขยะทางการแพทย์ การกำจัดขยะ -- ต้นทุน ทศพร วิมลเก็จ อานนท์ วรยิ่งยง สรันยา เฮงพระพรหม https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/30217.jpg