การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย

The objective of this research is to study and analyze whether the Institute of London Underwriters marine hull policy is applicable in Thailand and if it is to what extent. The study deals mainly with three issues : 1) form and content of the marine hull policy under Insurance Against Loss Act B.E...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธีระพล มิตรประยูร
Other Authors: ชยันติ ไกรกาญจน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1999
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:23642
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 23642
record_format dspace
spelling 236422024-02-22T05:22:53Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:23642 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.1999.241 tha ธีระพล มิตรประยูร การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย The applicability of the Institute of London Underwriters marine hull policies in Thailand จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1999 1999 The objective of this research is to study and analyze whether the Institute of London Underwriters marine hull policy is applicable in Thailand and if it is to what extent. The study deals mainly with three issues : 1) form and content of the marine hull policy under Insurance Against Loss Act B.E. 2535, 2) the marine hull policy under Civil and Commercial Code and under Marine Insurance Act 1906 of England by comparative analysis, and 3) the marine hull policy under Unfair Contract Term Act B.E. 2540. The research findings show that the standard marine hull policy is subject to marine Insurance Act 1906 of England. The Thai court has so far applied the rules of law of this Act as the general principles of law and as the provision most nearly applicable, irrespective of whether they are Thai law. However, the applicability is subject to the laws related to public order or good morals. Moreover, the Thai court has by itself brought the rules of law of this Act into attention for the adjudication of the dispute in marine insurance, in spite of the domestic general principles that foreign laws are the facts which the litigant is required to adduce. Consequently, for the applicability of the marine hull policy in Thailand in the same line as any other countries whether it has foreign elements and for the consistence of the judgements rendered by the Thai court, a specific law in marine insurance should be enacted in Thailand. The Act should cover the entire important issues of marine insurance, including the rule of Warranty, Insurable Interest and Lost or not lost. การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห์ว่าการนำกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนมาใช้บังคับในประเทศไทยสามารถกระทำได้หรือไม่ เพียงใด โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ 1) แบบและข้อความของกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานภายใต้พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 2) กรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และภายใต้พระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเล ค.ศ. 1906 ของประเทศอังกฤษ โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกัน และ 3) กรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 จากการวิเคราะห์ปรากฎว่า กรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือซึ่งเป็นสัญญามาตรฐานตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเล ค.ศ. 1906 ของประเทศอังกฤษ เท่าที่ผ่านมามีกรณีที่ศาลไทยได้นำหลักกฎหมายในพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับในฐานะเป็นหลักกฎหมายทั่วไปและในฐานะเป็นบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งโดยไม่คำนึงว่าเป็นกฎหมายไทยหรือไม่ แต่ทั้งนี้การนำมาใช้บังคับต้องตกอยู่ภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลไทยได้ยกหลักกฎหมายในพระราชบัญญัตินี้ขึ้นมาพิจารณาและพิพากษาคดีเอง แม้ว่าตามหลักทั่วไปของไทยถือว่ากฎหมายต่างประเทศเป็นข้อเท็จจริงที่คู่ความจะต้องนำสืบ ดังนั้น เพื่อให้กรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานไม่ว่าจะมีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับต่างประเทศหรือไม่ก็ตาม สามารถใช้บังคับในประเทศไทยได้เช่นเดียวกับที่ใช้กันทั่วไปในนานาประเทศ และเพื่อให้ผลการพิจารณาคดีของศาลไทยเป็นในแนวทางเดียวกัน จึงควรบัญญัติกฎหมายประกันภัยทางทะเลของประเทศไทยขึ้นเป็นกฎหมายเฉพาะโดยให้ครอบคลุมถึงสาระสำคัญของการประกันภัยทางทะเลอย่างครบถ้วน รวมทั้งหลักเกณฑ์ในเรื่อง Warranty (คำรับรอง) เรื่อง Insurable Interest (ส่วนได้เสีย) และเรื่อง Lost or not lost (วัตถุที่เอาประกันภัยได้รับความเสียหายก่อนการทำสัญญาประกันภัย) ด้วย 246 pages สถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย ประกันภัยทางทะเล กรมธรรม์ ชยันติ ไกรกาญจน์ จุฬา สุขมานพ https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/23642.jpg
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
ประกันภัยทางทะเล
กรมธรรม์
spellingShingle สถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
ประกันภัยทางทะเล
กรมธรรม์
ธีระพล มิตรประยูร
การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
description The objective of this research is to study and analyze whether the Institute of London Underwriters marine hull policy is applicable in Thailand and if it is to what extent. The study deals mainly with three issues : 1) form and content of the marine hull policy under Insurance Against Loss Act B.E. 2535, 2) the marine hull policy under Civil and Commercial Code and under Marine Insurance Act 1906 of England by comparative analysis, and 3) the marine hull policy under Unfair Contract Term Act B.E. 2540. The research findings show that the standard marine hull policy is subject to marine Insurance Act 1906 of England. The Thai court has so far applied the rules of law of this Act as the general principles of law and as the provision most nearly applicable, irrespective of whether they are Thai law. However, the applicability is subject to the laws related to public order or good morals. Moreover, the Thai court has by itself brought the rules of law of this Act into attention for the adjudication of the dispute in marine insurance, in spite of the domestic general principles that foreign laws are the facts which the litigant is required to adduce. Consequently, for the applicability of the marine hull policy in Thailand in the same line as any other countries whether it has foreign elements and for the consistence of the judgements rendered by the Thai court, a specific law in marine insurance should be enacted in Thailand. The Act should cover the entire important issues of marine insurance, including the rule of Warranty, Insurable Interest and Lost or not lost.
author2 ชยันติ ไกรกาญจน์
author_facet ชยันติ ไกรกาญจน์
ธีระพล มิตรประยูร
format Theses and Dissertations
author ธีระพล มิตรประยูร
author_sort ธีระพล มิตรประยูร
title การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
title_short การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
title_full การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
title_fullStr การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
title_full_unstemmed การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
title_sort การใช้บังคับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือมาตรฐานของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอนในประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 1999
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:23642
_version_ 1828718207397003264