การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่

The objective of this research was to 1) compare diagnostic results of the three-tier and the new four-tier diagnostic test in diagnosing mathematic misconception, 2) analyze the congruence among diagnostic results from the three-tier, the new four-tier diagnostic test and think-aloud interview, 3)...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วีรวัฒน์ โอษฐงาม
Other Authors: ณภัทร ชัยมงคล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2022
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:15708
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id 15708
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน
อินเทอร์เน็ตในการศึกษา
Mathematics -- Study and teaching (Secondary)
Technology -- Study and teaching
Internet in education
spellingShingle คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน
อินเทอร์เน็ตในการศึกษา
Mathematics -- Study and teaching (Secondary)
Technology -- Study and teaching
Internet in education
วีรวัฒน์ โอษฐงาม
การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
description The objective of this research was to 1) compare diagnostic results of the three-tier and the new four-tier diagnostic test in diagnosing mathematic misconception, 2) analyze the congruence among diagnostic results from the three-tier, the new four-tier diagnostic test and think-aloud interview, 3) develop and, 4) validate the online testing system for diagnosing mathematic misconception. The development was separated into three phases: developing and validating the psychometric properties of the three-tier and the new four-tier diagnostic tests for diagnosing mathematic misconception; developing the online testing system for the new four-tier mathematic misconception diagnostic test; and, validating the online testing system for diagnosing mathematic misconception. The participants in this new four-tier diagnostic testing were 60 eleventh-grade students. The research instruments were the interview form, the three-tier diagnostic test, the new four-tier diagnostic test, the user’s interface online testing system form, and the user’s experience form. The data were analyzed using descriptive statistics, a difficulty index, a discrimination index, reliability, Pearson’s correlation, and criterion-related validity.The research findings were as follows:1. The results of the study showed both a high correlation level of Pearson correlation coefficient (r=0.976) between the three-tier and the new four-tier diagnostic test statistics significant at the .01 level.2. The correlation between the diagnostic results of the new four-tier diagnostic test and the think-aloud interview was not different to the results of the three-tier diagnostic and the think-aloud interview.3. The system development results indicated that there were three stages to the operating system 1) registering for the testing system 2) taking the test and 3) reporting the test results.4. The user’s interface online testing system results from the experts showed that the system was adequate in all four aspects, with the highest evaluation for the clear explicitly of the system manual. The user experience survey also revealed that the users were most satisfied with the friendly and transparent design of the system.
author2 ณภัทร ชัยมงคล
author_facet ณภัทร ชัยมงคล
วีรวัฒน์ โอษฐงาม
format Theses and Dissertations
author วีรวัฒน์ โอษฐงาม
author_sort วีรวัฒน์ โอษฐงาม
title การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
title_short การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
title_full การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
title_fullStr การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
title_full_unstemmed การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
title_sort การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2022
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:15708
_version_ 1828632671920586752
spelling 157082024-02-21T06:52:45Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:15708 ©จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thesis 10.58837/CHULA.THE.2022.794 tha วีรวัฒน์ โอษฐงาม การพัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่ Development of online testing system for diagnosing mathematics misconceptions using the new four-tier diagnostic test จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2022 2022 The objective of this research was to 1) compare diagnostic results of the three-tier and the new four-tier diagnostic test in diagnosing mathematic misconception, 2) analyze the congruence among diagnostic results from the three-tier, the new four-tier diagnostic test and think-aloud interview, 3) develop and, 4) validate the online testing system for diagnosing mathematic misconception. The development was separated into three phases: developing and validating the psychometric properties of the three-tier and the new four-tier diagnostic tests for diagnosing mathematic misconception; developing the online testing system for the new four-tier mathematic misconception diagnostic test; and, validating the online testing system for diagnosing mathematic misconception. The participants in this new four-tier diagnostic testing were 60 eleventh-grade students. The research instruments were the interview form, the three-tier diagnostic test, the new four-tier diagnostic test, the user’s interface online testing system form, and the user’s experience form. The data were analyzed using descriptive statistics, a difficulty index, a discrimination index, reliability, Pearson’s correlation, and criterion-related validity.The research findings were as follows:1. The results of the study showed both a high correlation level of Pearson correlation coefficient (r=0.976) between the three-tier and the new four-tier diagnostic test statistics significant at the .01 level.2. The correlation between the diagnostic results of the new four-tier diagnostic test and the think-aloud interview was not different to the results of the three-tier diagnostic and the think-aloud interview.3. The system development results indicated that there were three stages to the operating system 1) registering for the testing system 2) taking the test and 3) reporting the test results.4. The user’s interface online testing system results from the experts showed that the system was adequate in all four aspects, with the highest evaluation for the clear explicitly of the system manual. The user experience survey also revealed that the users were most satisfied with the friendly and transparent design of the system. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการวินิจฉัยระหว่างแบบเลือกตอบสามระดับและแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่สำหรับมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในวิชาคณิตศาสตร์ 2) วิเคราะห์ความสอดคล้องของผลการวินิจฉัยระหว่างแบบเลือกตอบสามระดับและแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่สำหรับมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในวิชาคณิตศาสตร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) พัฒนาระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ และ 4) ตรวจสอบคุณภาพระบบทดสอบออนไลน์เพื่อวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาและตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติแบบเลือกตอบสามระดับและแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่สำหรับมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบการทดสอบออนไลน์ เพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์โดยใช้แบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่ และระยะที่ 3 ประเมินคุณภาพระบบการทดสอบออนไลน์เพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่ ตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 60 คน สำหรับใช้ในการทดลองแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบวินิจฉัยสามระดับ แบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่ แบบประเมินการใช้การอินเทอร์เฟซของระบบทดสอบออนไลน์  และแบบประเมินประสบการณ์ผู้ใช้งานระบบการทดสอบออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความยาก อำนาจจำแนก การวิเคราะห์ความเที่ยง สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและความตรงตามเกณฑ์สัมพัทธ์ โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์วีของคราเมอร์  ผลการวิจัยพบว่า1) ผลการวินิจฉัยระหว่างแบบเลือกตอบสามระดับและแบบสอบวินิจฉัย สี่ระดับแบบใหม่สำหรับมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในวิชาคณิตศาสตร์มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงมาก (r=0.976) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  2) ความสอดคล้องของผลการวินิจฉัยระหว่างแบบเลือกตอบสามระดับและแบบสอบวินิจฉัยสี่ระดับแบบใหม่สำหรับมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในวิชาคณิตศาสตร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์จากการสัมภาษณ์ด้วยเทคนิคการคิดออกเสียงไม่แตกต่างกัน3) ผลการพัฒนาระบบฯ พบว่า กระบวนการทำงานของระบบประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การลงทะเบียนเข้าสู่ระบบทดสอบ 2) การดำเนินการทดสอบ และ 3) การรายงานผลการทดสอบ4) ผลประเมินการใช้งานอินเทอร์เฟซของระบบทดสอบออนไลน์ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่าระบบมีความเหมาะสมทั้ง 4 ด้าน โดยด้านที่มีผลการประเมินสูงที่สุดคือ ด้านคู่มือการใช้ระบบมีบทนำที่อธิบายความเป็นมาอย่างชัดเจน สำหรับการประเมินประสบการณ์ผู้ใช้งานระบบการทดสอบออนไลน์ พบว่า รายการที่นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ มีการออกแบบระบบให้มีความสวยงามและน่าสนใจ 264 pages คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน อินเทอร์เน็ตในการศึกษา Mathematics -- Study and teaching (Secondary) Technology -- Study and teaching Internet in education ณภัทร ชัยมงคล https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/15708.jpg