Chemical constituents of erythrina fusca and erythrina suberosa stem bark and their biological activities
การศึกษาทางพฤกษเคมีของเปลือกต้นทองโหลง สามารถแยกสารใหม่ได้ 1 ชนิด คือ 3-hydroxy-10-(3-hydroxy-3-methylbutyl)-9-methoxypterocarpan และสารที่มีรายงานมาแล้ว 11 ชนิด ได้แก่ sandwicensin, lupinifolin, citflavanone, lonchocarpol A, erythrisenegalone, liquiritigenin, daidzein, 8-prenyldaidzein, cerinic aci...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | English |
Published: |
Chulalongkorn University
2003
|
Subjects: | |
Online Access: | https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:32439 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | English |
Summary: | การศึกษาทางพฤกษเคมีของเปลือกต้นทองโหลง สามารถแยกสารใหม่ได้ 1 ชนิด คือ 3-hydroxy-10-(3-hydroxy-3-methylbutyl)-9-methoxypterocarpan และสารที่มีรายงานมาแล้ว 11 ชนิด ได้แก่ sandwicensin, lupinifolin, citflavanone, lonchocarpol A, erythrisenegalone, liquiritigenin, daidzein, 8-prenyldaidzein, cerinic acid, 1-octacosanol และ erythrinassinate B ส่วนการศึกษาทางพฤกษเคมีของเปลือกต้นทองบกพบสารที่มีรายงานมาแล้ว 6 ชนิดคือ erythrabyssin II, sandwicensin, erythrinassinate B, 5,7,4 -trihydroxy-8,3 ,5 -triprenylflavanone, erythratidinone, และสารผสมของ beta-sitosterol กับ stigmasterol การพิสูจน์โครงสร้างทางเคมีของสารที่แยกได้นี้ อาศัยการวิเคราะห์สเปกตรัมของ UV, IR, MS และ NMR ร่วมกับการเปรียบเทียบข้อมูลของสารที่ทราบโครงสร้างแล้ว จากการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย, ฤทธิ์ต้านจุลชีพ, ฤทธิ์จับอนุมูลอิสระ, ฤทธิ์ต้านเชื้อวัณโรค และ ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของสารทดสอบทั้งหมดพบว่ามีฤทธิ์ต่ำในการต้านเชื้อจุลชีพ ยกเว้น lonchocarpol A และlupinifolin มีฤทธิ์แรงในการต้านจุลชีพ Bacillus subtilis มีฤทธิ์ปานกลางต่อ Enterococcus faecalis และ Staphylococcus aureus และพบว่า lonchocarpol A มีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียสายพันธุ์ K[subscript 1] ที่แรงที่สุด (EC[subscript 50] 1.6 microgram/ml) เมื่อเปรียบเทียบกับ erythrabyssin II, 8-prenyldaidzein และ citflavanone (EC[subscript 50] 3.9, 5.0 และ 5.0 microgram/ml ตามลำดับ) แต่ไม่มีฤทธิ์ในสัตว์ทดลอง (ที่ 20 mg/kg) นอกจากนี้สารทดสอบเกือบทั้งหมดมีฤทธิ์ต่ำในการจับอนุมูลอิสระและการต้านเชื้อวัณโรค (H37Ra) ในขณะเดียวกันพบว่า erythrisenegalone และ lupinifolin มีความเป็นพิษที่แรงต่อเซลล์มะเร็งเต้านม (BC) |
---|